ชื่อเรื่อง |
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย : ปฏิรูป ปฏิวัติ รัฐประหารของผู้นำทางการเมืองพลเรือน ตำรวจ ทหาร / เรียบเรียงโดย พีระพงษ์ สิทธิอมร...[และคนอื่นๆ] |
ISBN |
978-974-94-9904-7
|
พิมพ์ลักษณ์ |
กรุงเทพฯ : ซี แอนด์ เอ็น, 2549 |
เลขเรียก |
320 ป46ป |
ลักษณะทางกายภาพ |
663 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม |
หมายเหตุ |
การปฏิรูปการเมืองการปกครองสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว -- อิทธิพลของแนวคิดประชาธิปไตย -- แนวคิดทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยสมัยรัชกาลที่ 6 -- กระบวนการพัฒนาทางการเมืองการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตย -- แนวคิดการปกครองแบบประชาธิปไตยสมัยรัชกาลที่ 7 -- คณะราษฎร์กับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 -- การปฏิวัติครั้งที่ 2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา -- การปฏิบัติครั้งที่ 3 กบฎวรเดช -- ก่อนรัฐประหารปี 2490 -- ชีวิตบุรุษเหล็ก พลเอกเผ่า ศรียานนท์ -- ขบวนการเสรีไทย - หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติการเมืองป่วน -- ลัทธิชาตินิยมทหารนิยมกับการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย -- การขึ้นครองอำนาจของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ -- การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 -- ปัจจัยทางประวัติศาสตร์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 รัฐธรรมนูญวิปโยค -- บทบาทของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษา-- บทบาท พล.ต.ต. สง่า กิตติขจร -- ปฏิกิริยาประท้วงรัฐบาล -- จอมพลถนอม กิติขจรจับไขแสง สุกใส -- ปฏิกิริยาการเรียกร้องการต่อสู้ขยายทั่วประเทศ -- ความห่วงใยต่อสถานการณ์ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช -- อาทิตย์อุทัยขึ้น 13 ตุลาคม 2516 -- แถลงการณ์รัฐบาลฉบับที่ 1-6 ประกาศวิทยุกรมประชาสัมพันธ์ -- แถลงการณ์รุนแรง 14 ตุลาคม 2516 -- ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกเราทำได้ คนที่ 14 -- รัฐประหารนองเลือด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 -- การเปลี่ยนแปลงการเมืองไทย 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ปฏิรูปการปกครอง -- พลเอกเปรม ตินสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี -- คณะปฏิวัติยอมจำนนขอลี้ภัยในต่างประเทศ -- พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ขึ้นเป็นผู้บัญชาการทหารบก -- การก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ -- การปฏิวัติ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 -- เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ -- การเลือกตั้งทั่วไป 13 กันยายน พ.ศ. 2535 --รัฐบาลก่อนคณะสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ -- คณะสมาชิกสภาพร่างรัฐธรรมนูญ -- การดำเนินงานคณะกรรมการสภาร่างรัฐธรรมนูญ -- พรรคการเมืองไทยกับรัฐธรรมนูญ 2540 -- เส้นทางสู่นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 -- การต่อต้านรัฐบาล พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร และการยุบสภา - การยุบสภากับการจัดเลือกตั้ง 2 เมษายน พ.ศ. 2549 -- ชัยชนะของรัฐบาลกับการเว้นวรรคทางการเมืองของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร -- แนวความคิดทางการเมืองของรัฐบาลกับพรรคฝ่ายค้าน -- การเลือกตั้งวุฒิสภาครั้งที่ 2 -- ปัจจุบันอนาคตการปฏิรูปการเมือง -- สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) 2548 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว 2549)คณะปฏิรูปการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขยึดอำนาจการปกครอง 19 กันยายน พ.ศ. 2549 |
หัวเรื่อง |
ไทย--การเมืองและการปกครอง |
ผู้แต่งร่วม |
พีระพงษ์ สิทธิอมร |